วันจันทร์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560

การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์

การสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์  
 ไขปริศนาการสูญพันธุ์       
 หลังจากครอบครองโลกอยู่  นานถึง 160 ล้านปี  ไดโนเสาร์ผู้ยิ่งใหญ่ก็สูญสิ้น
 เผ่าพันธุ์ไปอย่างรวดเร็ว อะไร คือสาเหตุ    แห่งการสูญพันธุ์ครั้งนี้ มีผู้พยายาม
 ศึกษาค้นคว้าและหาคำตอบอยู่เป็นจำนวนมาก แต่ปัจจุบันมีทฤษฏีที่ได้ยอมรับ เพียง3     ทฤษฏีหลัก คือ
1.ทฤษฏีอุกกาบาดพุ่งชนโลก
เป็นทฤษฏีที่มีการอ้างและพูดถึงกันมาก เป็นการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
โดยมีอุกาบาตรขนาดใหญ่จำนวนมาพุ่งชนโลก ผลจากการชนทำให้เกินการ
ระเบิดและฟุ้งกระจายของฝุ่นละอองสู่บรรยากาศโลก เป็นเสมือนม่านบดบัง
แสงอาทิตย์  ส่งผลให้เกิดความมืดมิดและบรรยากาศเย็นลงอย่างฉับพลันเป็นเวลานาน
ทำให้ไดโนเสาร์ไม่สามารถปรับตัวได้ให้เข้ากับอุณหภูมิและสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงได้
จึงล้มตายเป็นสูญพันธุ์ แนวคิดนี้อ้างอิงจากการพบธาตุอิริเดียมในปริมาณ
มากกว่าปกติในชั้นตะกอนบางๆ ที่มีอายุในช่วงรอยต่อระหว่างยุคครีเทเชียส
และเทอร์เชียร์รี ในบริเวณต่างๆ ของโลก นอกจากนั้นยังพบโครงสร้างที่เชื่อว่า
เกิดจากการชนของอุกาบาตร เช่น ในประเทศแม็กซิโก ที่สอดคล้องกับอายุ
ที่มีการสูญพันธุ์ของไดโนเสาร์อีกด้วย

2.ทฤษฏีเรือนกระจก
สืบเนื่องมาจากการระเบิดของภูเขาไฟที่รุงแรงในเวลาไกล้เคียงกันเกือบทั่วโลก
เช่น หลักฐานการระเบิดของภูเขาไฟในบริเวณที่ราบสูงเดคคาน
ประเทศอินเดีย การระเบิดครั้งนี้เป็นการที่ระเบิดที่รุงแรงที่สุดในช่วงการมีชีวิต
ของไดโนเสาร์ เป็นให้ลาวาจำนวนมหาศาลปะทุสู่พื้นผิวโลก ปกคลุมพื้นที่
กว่า1 ล้านตารางไมล์และหนากว่า1ไมล์ ทำให้ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ถูก

3.ทฤษฏีการขาดอากาศนักวิทยาศาสตร์ กลุ่มหนึ่งได้ตั้งข้อเสนอไว้ว่า ไดโนเสาร์อาจจะสูญพันธุ์จากโลกนี้เพราะประมาณของออกซิเจนลดลงไปอย่างรวดเร็ว เป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นร่วมกับการที่อุณหภูมิของโลกเกิดการเปลี่ยนแปลง ส่งผลให้ไดโนเสาร์จำนวนมากเสียชีวิตอย่างรวดเร็ว เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของเปลือกโลกในช่วงต้นมหายุคจำนวนมาก ซึ่งก๊าซเหล่านี้จะถูกพืชนำไปใช้ในการสังเคราะห์แสง และปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาเป็นจำนวนมาก บรรยากาศของโลกยุคนั้นจึงเต็มไปด้วยอากาศบริสุทธิ์เหมาะสำหรับการดำรงชีวิตของสิ่งมีชีวิตเป็นอย่างยิ่งรวมถึง






ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น